สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
รศ.จุมพจน์ วนิชกุล
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
ถนนกาญจนบุรี-ไทรโยค ต.หนองบัว อ.เมือง กาญจนบุรี 71000

***ความรู้คืออำนาจ เรียนและค้นคว้าให้สนุกในโลกของสังคมข่าวสาร ไร้พรมแดน ไร้กาลเวลา***


คำนำ

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
สังคมข่าวสาร

วัสดุสารสนเทศ

หนังสือและส่วนต่างๆ
ของหนังสือ

การจัดหมวดหมู่
สารสนเทศ

การค้นข้อมูลใน
สังคมสารสนเทศ

หนังสืออ้างอิง

การเขียนรายงาน
การศึกษา
และค้นคว้า

แบบฝึกหัด

เฉลยแบบฝึกหัด

บรรณานุกรม

โน้ตจากผู้สอน


Home



แบบทดสอบเรื่อง การจัดหมู่หนังสือ

คำสั่ง  ให้นักศึกษาใช้เมาส์คลิก หน้าคำตอบที่ถูกที่สุด

1. อะไรคือวัตถุประสงค์หลักในการจัดหมู่หนังสือ

ก. ให้หนังสือมีที่อยู่แน่นอน
ข. ทำให้หนังสือเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงาม
ค. ทำให้หนังสือที่มีเนื้อเรื่องคล้ายกัน อยู่ด้วยกัน
ง. อำนวยความสะดวกในการค้นหา

2. การแบ่งหมู่หนังสือของดิวอี้ยึดหลักอะไร

ก. จากง่ายไปหายาก
ข. จากเรื่องสั้น ๆ ไปหาเรื่องยาว ๆ
ค. จากเรื่องใกล้ตัวไปหาเรื่องไกลตัว
ง. ไม่แน่นอน

3. ระบบทศนิยมของดิวอี้แบ่งหมวดหนังสือ ใหญ่ ๆ เป็นกี่หมวด

ก. 9 หมวด
ข. 10 หมวด
ค. 20 หมวด
ง. นับไม่ถ้วน

4. ใครเป็นผู้คิดระบบทศนิยมของดิวอี้

ก. จอห์น ดิวอี้
ข. เฮนรี่ ดิวอี้
ค. เมลวิล ดิวอี้
ง. ริชาร์ด ดิวอี้

5. ประโยชน์ที่สำคัญของการหมู่หนังสือ คือข้อใด

ก. ทำให้ทราบว่าหนังสือมีสัญลักษณ์แบบใด
ข. ทำให้ทราบว่าห้องสมุดมีหนังสือเรื่องใดบ้าง
ค. ทำให้ทราบจำนวนของหนังสือในห้องสมุด
ง. ทำให้ค้นหาหนังสือในห้องสมุดได้รวดเร็ว

6. หนังสือที่ห้องสมุดบางแห่งไม่นิยมให้เลขหมู่ คือ

ก. หนังสือชีวประวัติและนิทาน
ข. หนังสือสารคดีและนวนิยาย
ค. หนังสือนวนิยายและชีวประวัติ และ นิทาน
ง. หนังสือนวนิยาย ชีวประวัติ และ สารคดี

7.บรรณารักษ์กำหนดเลขหมู่หนังสือโดยพิจารณาจากข้อใด

ก. ชื่อเรื่อง
ข. เนื้อเรื่อง
ค. หัวเรื่อง
ง. หน้าปกหนังสือ

8.หอสมุดมหาวิทยาลัยรามคำแหง จัดหมวดหมู่หนังสือระบบใด

ก.ระบบทศนิยมของดิวอี้
ข.ระบบหอสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน
ค.ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
ง.ระบบคอมพิวเตอร์

9.สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดหมวดหมู่หนังสือระบบใด

ก.ระบบทศนิยมของดิวอี้
ข.ระบบหอสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน
ค.ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
ง.ระบบคอมพิวเตอร์

10.ข้อแตกต่างของระบบการจัดหมู่หนังสือ ระบบของดิวอี้ และ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ได้แก่ข้อใด

ก. คิดขึ้นโดยชาวอเมริกัน
ข. มีสัญลักษณ์หลักเป็นตัวเลข
ค. แบ่งสรรพวิทยาการออกเป็นหมวดใหญ่และหมวดย่อย
ง. ปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติมอยู่เสมอ

11. หนังสือในหมวดนี้ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องในด้านสังคมมนุษย์

ก. หมวด 100
ข. หมวด 300
ค. หมวด 400
ง. หมวด 800

12. ผู้อ่านชอบอ่านหนังสือในหมวดนี้เพื่อการบันเทิง

ก. หมวด 100
ข. หมวด 300
ค. หมวด 400
ง. หมวด 800

13. ผู้อ่านหนังสือบางคนไม่ชอบอ่านหนังสือในหมวดนี้ เพราะไม่มีความเข้าใจ ในหลักของปรัชญา

ก. หมวด 100
ข. หมวด 300
ค. หมวด 400
ง. หมวด 800

14. นักวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์จำเป็นอย่างยิ่ง ต้องค้นคว้าหนังสือ ในหมวดนี้ ประกอบการวิจัย

ก. หมวด 100
ข. หมวด 300
ค. หมวด 400
ง. หมวด 800

15. ข้อความของเนื้อหาวิชาในหมวดนี้มีความไพเราะน่าอ่าน

ก. หมวด 100
ข. หมวด 300
ค. หมวด 400
ง. หมวด 800

16. หนังสือบริหารการศึกษา จัดอยู่ในหมวดนี้

ก. หมวด 100
ข. หมวด 300
ค. หมวด 400
ง. หมวด 800

17. บรรณารักษ์จัดหนังสือซึ่งเขียนโดย โสภาค สุวรรณ ไว้ในหมวดนี้

ก. หมวด 100
ข. หมวด 300
ค. หมวด 400
ง. หมวด 800

18. หนังสือ คณิตคิดลัด จัดอยู่ในหมวดนี้

ก. หมวด 100
ข. หมวด 300
ค. หมวด 400
ง. หมวด 800

19. เรื่องราวของการปกครอง กฎหมายบ้านเมืองจัดอยู่ในหมวดนี้

ก. หมวด 100
ข. หมวด 300
ค. หมวด 400
ง. หมวด 800

20. เนื้อหาวิชาของหนังสือมักนำไปใช้ในชีวิต และ นับวันจะยิ่งเจริญก้าวหน้าไป อย่างไม่มีที่สิ้นสุด

ก. หมวด 100
ข. หมวด 300
ค. หมวด 400
ง. หมวด 800

ทบทวนบทเรียนเรื่องนี้ใหม่

 

 

Send comments to Chumpot@hotmail.com
Copyright © 2008
Revised:May 2008